การ เก็บ ภาษี สมัย อยุธยา

  1. ออนไลน์
  2. ภาษีอากร: ภาษีอากร
  3. Pantip
  4. อันภาษีมีมานานแต่ก่อนกาล
  5. จังกอบ - iTAX pedia

ศ. 1976 (ค. 1433) โดยเก็บชักส่วนสินค้าคิดเป็นอัตรา 10 ชัก 1 (อัตรา 10%) ถ้าไม่ถึง 10 ห้ามไม่ให้เก็บ ต่อมามีการแก้ไขอัตราใหม่ คือ นอกจากจะเก็บเป็นสิ่งของ 10% แล้ว ยังได้มีวิธีเก็บภาษีจังกอบตามขนาดยาวของเรือ เก็บวาละ 1 บาท ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มีการเปลี่ยนแปลงอัตราเก็บ คือ เรือปากกว้างต่ำกว่า 6 ศอก เก็บลำละ 6 บาท ถ้าเรือปากกว้างกว่า 6 ศอกขึ้นไป เก็บวาละ 20 บาท อัตรานี้มีการแก้ไขอีกครั้งในปลายสมัยอยุธยาโดยกำหนดอัตราภาษีจังกอบใหม่ คือ คิดปากเรือวาละ 12 บาท สมัยรัตนโกสินทร์ยุคแรกๆ อัตราภาษีจังกอบไม่แน่นอน ในสมัยรัชกาลที่ 3 เมื่อไทยทำสัญญาเบอร์นีกับอังกฤษในปี พ. 2369 ตกลงให้ไทยเก็บค่าปากเรือคิดเป็นวาละ 1, 700 บาท สำหรับเรือที่บรรทุกสินค้าเข้ามาจำหน่าย ถ้าเป็นเรือเปล่าบรรทุกแต่อับเฉพาเข้ามาซื้อสินค้าเก็บวาละ 1, 500 บาท เมื่อเก็บค่าปากเรือแล้ว รัฐบาลไทยจะไม่เรียกเก็บภาษีอากรอย่างอื่นอีกจากสินค้าที่บรรทุกเข้ามาและออกไป การเก็บค่าปากเรือเช่นนี้ได้เลิกไปเมื่อไทยทำสัญญาบาวริ่งในปี พ. 2398 โดยเปลี่ยนมาเก็บภาษีสินค้าเข้า 3% แทน พิกัดอัตรานี้ฝ่ายไทยได้พยายามขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงรวม 11 ครั้ง นับตั้งแต่ พ.

ออนไลน์

การ เก็บ ภาษี สมัย อยุธยา ออนไลน์

ภาษีอากร: ภาษีอากร

ข. ภาษีเบ็ดเสร็จ (เก็บของลงสำเภา) - ภาษีของต้องห้ามหกอย่าง (ได้แก่ อากรรังนก, ไม้กฤษณา, นอแรด, งาช้าง, ไม้จันทร์, ไม้หอม) ในสมัยรัชกาลที่ 3 นี้ พระองค์ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ ยกเลิกอากร ซึ่งเคยมีมาแต่ครั้ง กรุงศรีอยุธยา 2 ชนิดคือ อากรรักษาเกาะ และอากรค่าน้ำ การจัดเก็บภาษีอากรในสมัยรัชกาลที่ 4 4 มีชาวต่างประเทศเข้ามาติดต่อค้าขายกับประเทศไทยมากขึ้น โดยเฉพาะประเทศอังกฤษ ได้ส่งเซอร์จอห์น เบาริ่ง เจ้าเมืองฮ่องกง เป็นราชฑูตเชิญพระราชสาส์น เข้ามาขอทำหนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีในปีพ. ศ. 2397 ทั้งนี้โดยมีข้อความของสนธิสัญญาทางด้านภาษีที่สำคัญประการหนึ่งคือ ให้มีการยกเลิกภาษีเบิกร่องหรือภาษีปากเรือที่เก็บตามสัญญา ฉบับปี พ.

Pantip

การ เก็บ ภาษี สมัย อยุธยา คือ

อันภาษีมีมานานแต่ก่อนกาล

2469 เป็นต้นมา จนในปี พ. ​2474 จึงสามารถตรา พ. ร. บ. พิกัดอัตราศุลกากร พ. 2478 ส่วนพิกัดอัตราภาษีขาออกในเวลานั้นเก็บเฉพาะภาษีข้าวขาออกเท่านั้น โดยเก็บในอัตราเกวียนละตำลึง หรือหาบละ 17. 4 สตางค์สำหรับข้าวขาว ข้าวกล้องหาบละ 18. 4 สตางค์ รำและปลายข้าวกล้องหาบละ 9. 4 สตางค์ และข้าวเปลือกหาบละ 12. 9 สตางค์ อัตรานี้เป็นอัตราดั้งเดิมและยังคงใช้อยู่ แม้ว่าจะได้ประกาศ พ. พิกัดศุลกากรแล้ว นอกจากภาษีข้าวขาออกยังมีการเรียกเก็บภาษีสัตว์พาหนะที่บรรทุกออกไปขายต่างประเทศ ซึ่งตราไว้ใน พ. สัตว์พาหนะ ร. 110 (พ.

จังกอบ - iTAX pedia

การ เก็บ ภาษี สมัย อยุธยา pdf

ภาษีฝิ่น 2. ภาษีสุกร 3. ภาษีปลาสด 4. ภาษีปลาทู 5. ภาษีไหม 6. ภาษีขี้ผึ้ง 7. ภาษีผ้า 8. ภาษีหม้อหวด 9. ภาษีถัง 10. ภาษีเตาหล่อ 11. ภาษีมาดเรือโกลน 12. ภาษีแจว พาย โกลน 13. อากรพนัน 14. อากรมหรสพ - นำภาษีอากรที่ยกเลิกในรัชกาลที่ 3 กลับมาใช้ใหม่ 2 ประเภท คือ 1. อากรค่าน้ำ 2. อากรรักษาเกาะ การจัดเก็บภาษีอากรในสมัยรัชกาลที่ 5 ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้มีพระราชปรารภว่า เงินภาษีอากรอันเป็นผลประโยชน์ของแผ่นดิน จัดเก็บกันไม่เป็นระเบียบกระจัดกระจายรั่วไหลไปมากมาย ในปี พ.

  1. ดู หนัง deadgirl พากย์ ไทย
  2. อยากทราบว่าบ้านชั้นเดียวปรับเป็น2ชั้นได้ไหมคะ? - Pantip
  3. มิชชั่น อิ ม พอ ส ซิ เบิ้ ล ภาพยนตร์
  4. โรงแรมใกล้กรมแรงดินแดง | เนื้อหาที่เกี่ยวข้องโรงแรม แถว ดินแดงที่มีรายละเอียดมากที่สุดทั้งหมด
  5. กล้าม เนื้อ ปลาย ประสาท อักเสบ

2433 ได้มีการตราพระราชบัญญัติพระธรรมนูญหน้าที่ราชการกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ร. 109 ขึ้น พระราชบัญญัติฉบับนี้กำหนดให้ภาษีขาเข้าและภาษีเบ็ดเสร็จขึ้น กรมศุลกากร ซึ่งอยู่ในบังคับบัญชาของกระทรวงพระคลัง ส่วนภาษีขาออกยังคงขึ้นกับกรมท่า ต่อเมื่อ พ. 2435 จึงเปลี่ยนมารวมอยู่ในกรมศุลกากร ในสมัยรัชกาลที่ 5 รัฐบาลเริ่มให้เลิกวิธีการผูกขาดโดยเปลี่ยนมาเป็นรัฐจัดเก็บภาษีอากรเอง ในระยะเริ่มแรกรัฐบาลมอบหน้าที่ให้กรมสรรพากรนอกเก็บภาษีภายในตามส่วนภูมิภาค สถานที่จัดเก็บได้เปลี่ยนไปจากโรงภาษีเป็นด่านภาษี วิธีการจัดเก็บใช้แบบอย่างของกรมศุลกากรกรุงเทพฯ จนกระทั่ง พ. 2461 กรมศุลกากรได้ตั้งด่านตรวจเป็นภาษีศุลกากรครั้งแรกขึ้นที่ปาดังเบซาร์ ต่อมาที่ทุ่งสงในปี พ. 2462 นอกจากนี้ ได้โอนด่านตรวจที่จังหวัดตรัง จังหวัดภูเก็ต จังหวัดระนอง จากรมสรรพากรมาขึ้นกับกรมศุลกากรในปี พ. 2461 และ ปี พ. 2462 โอนด่านตรวจในมณฑลปักษ์ใต้ทั้งหมดและเมืองจันทบุรีจากรมสรรพากรมาขึ้นกับกรมศุลกากร ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาภาษีขาเข้าและขาออกตกอยู่ในหน้าที่จัดเก็บของกรมศุลกากรแต่ลำพัง อ้างอิง ^ รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์, ภาษีอากรในประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย คลังข้อมูลและบทสำรวจสถานะทางวิชาการ, สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2527), หน้า 3 ^ รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์, ภาษีอากรในประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย คลังข้อมูลและบทสำรวจสถานะทางวิชาการ, สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2527), หน้า 103-106