การ แสดง ตน เป็น พุทธมามกะ คือ: ใบความรู้ ใบงาน พุทธมามกะ – สื่อการสอน.Com

ปุระชัยคอยตักเตือนมนัสมิให้โดดเรียนไปเที่ยว ข. อัญชลีลืมกระเป๋าสตางค์ไว้ นาตยาก็ช่วยเก็บไว้ให้ ค. เมื่อสุดารัตน์ทุกข์ใจ ดารณีก็จะคอยปลอบใจอยู่เสมอ ง. พรนภานำความรู้จากการเรียนพิเศษไปช่วยติวให้เพื่อน ๔๐. ข้อใดไม่จัดเป็นพิธีกรรมที่เกิดจากวิถีชาวบ้าน ก. พิธีงานศพ ข. พิธีมงคลสมรส ค. พิธีถวายกฐิน ง. พิธีทำบุญขึ้นบ้านใหม่ ๔๑. นักเรียนจะทำพิธีแสดงตนเป็นพุทธมามกะได้ต้องได้รับความยินยอมจากใครก่อน ก. พระสงฆ์ ข. ผู้ปกครอง ค. ครูที่ปรึกษา ง. ผู้อำนวยการโรงเรียน ๔๒. ในปัจจุบันวัดยังคงเป็นศูนย์กลางของชุมชนในด้านต่างๆ ยกเว้นข้อใด ก. ด้านจิตรกรรม ข. ด้านวรรณกรรม ค. ด้านสถาปัตยกรรม ง. ด้านประติมากรรม ๔๓. ข้อใดคือประโยชน์ที่สมศรีได้รับจากการติดตามบิดามารดาไปวัดอย่างสม่ำเสมอ ก. สมศรีเป็นที่รักของบุคคลทั่วไป ข. สมศรีรู้จักเส้นทางคมนาคมมากขึ้น ค. สมศรีรู้สึกคุ้นเคยและผูกพันกับวัด ง. สมศรีสอบวิชาพระพุทธศาสนาได้คะแนนดี ๔๔. เมื่อนักเรียนใช้อวัยวะทั้ง ๕ ได้แก่ หน้าผาก ๑ มือ ๒ เข่า ๒ แสดงว่านักเรียนกำลัง แสดงความเคารพตามขั้นตอนอะไร ก. อัญชลี ข. นมัสการ ค. อภิวาท ง. วันทา ๔๕. การฟังสวดพระอภิธรรมจัดขึ้นในงานใด ก.

ใบความรู้ ใบงาน พุทธมามกะ – สื่อการสอน.com

ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต, วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ, ติสะระเณนะสะหะ, ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ. ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต, วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ, ติสะระเณนะสะหะ, ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ. จากนั้นประธานสงฆ์จะเป็นผู้ให้ศีล ผู้ปฏิญาณว่าตาม ดังนี้ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. ประธานสงฆ์ว่า "ยะมะหัง วะทามิ, ตัง วะเทหิ" ผู้ปฏิญาณรับว่า "อามะ ภันเต" พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ. ธังมัง สะระณัง คัจฉามิ. สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ. ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ. ทุติยัมปิ ธังมัง สะระณัง คัจฉามิ. ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ. ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ. ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ. ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ.

พิธีแสดงตนเป็นพุทธมามกะ วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อส่งเสริมให้ผู้มาใหม่เกิดความเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนาอันจะเป็นทางชักจูงให้เข้าใจซาบซึ้งในศีลธรรมจรรยายิ่ง ๆ ขึ้น อันเป็นผลดีแก่หมู่คณะและประเทศชาติ ๒. เพื่อให้ผู้ที่ประสงค์ จะเปลี่ยนมานับถือพระพุทธศาสนาได้ปฏิญาณตนยอมรับนับถือพระรัตนตรัยว่าเป็นที่พึ่งที่ระลึกตลอดชีวิต ๓.

เมื่อบุตรหลานของตนรู้เดียงสาเจริญวัยอยู่ในระหว่าง ๑๒ – ๑๕ ปี ก็ประกอบพิธีให้บุตรหลานได้แสดงตนเป็นพุทธมามกะ เพื่อให้เด็กสืบความเป็นชาวพุทธตามตระกูลต่อไป ๒. เมื่อจะส่งบุตรหลานไปเรียนยังต่างประเทศที่มิใช่ดินแดนของพระพุทธศาสนา ๓. เมื่อจะปลูกฝังนิสัยของเยาวชนให้มั่นคงในพระพุทธศาสนาส่วนมากทางโรงเรียนจะเป็นผู้จัดทำพิธีกรรม อาจจะเป็นปีละครั้ง ๔.

  • ปฏิทิน ปี 61 พร้อม วัน หยุด
  • การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ - GotoKnow
  • พิธีแสดงตนเป็นพุทธมามกะ
  • แบบ ห้อง นอน สไตล์ โม เดิ ร์ น
  • พิธีแสดงตนเป็นพุทธมามกะ - กองอนุศาสนาจารย์ กรมยุทธศึกษาทหารบก
  • เจ็บ แต่ จบ อ๊ อ ฟ ปอง ศักดิ์

สอนให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจได้ง่าย ค. มีความน่ารัก น่าเคารพ น่ายกย่อง ง. คอยแนะนำว่ากล่าวตักเตือนเมื่อทำผิด ๓๔. นางสาวสมศรีประกอบอาชีพด้วยความซื่อสัตย์สุจริตโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง นักเรียนคิดว่าสมศรีปฏิบัติตามหลักไตรสิกขาข้อใด ก. ศีลสิกขา ข. จิตตสิกขา ค. สมาธิสิกขา ง. ปัญญาสิกขา ๓๕. ขันธ์ ๕ มีความสำคัญต่อมนุษย์เราอย่างไร ก. ช่วยให้ร่างกายดำรงอยู่ได้ ข. ช่วยปกป้องมิให้สังขารเสื่อม ค. สร้างการรับรู้ทางประสาท ง. เป็นองค์ประกอบของชีวิต ๓๖. ข้อใดจัดเป็นหน้าที่ที่สำคัญของชาวพุทธ ก. หมั่นไปวัดฟังพระธรรมเทศนา ข. เอาใจใส่ทำนุบำรุงวัดในชนบท ค. ปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางศาสน า ง. มีความเลื่อมใสศรัทธาในพระเครื่อง ๓๗. พระพุทธศาสนาสอนหลักธรรมเรื่องมิตรแท้ มิตรเทียม เพื่อวัตถุประสงค์ใดเป็น สำคัญ ก. ใช้เตือนตนเมื่ออยู่ร่วมกับมิตรสหาย ข. ป้องกันตนมิให้ถูกเพื่อนเอารัดเอาเปรียบ ค. รู้แนวทางปฏิบัติตนให้เป็นมิตรกับผู้อื่น ง. จะได้รู้จักหลักในการเลือกคบคนเป็นเพื่อน ๓๘. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของมิตรแท้ ก. มิตรพาเที่ยวเป็นนิจ ข. มิตรร่วมทุกข์ร่วมสุข ค. มิตรแนะนำประโยชน์ ง. มิตรอุปการะ มีน้ำใจ ๓๙. ข้อใดจัดเป็นลักษณะของมิตรมีน้ำใจ ก.

9 ข้อกับหน้าที่ชาวพุทธที่ดี ....??

๑. ข้อใดแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของพระเจ้ากาฬาโศกที่มีต่อพระพุทธศาสนา ก. เป็นผู้อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาครั้งที่ ๑ ข. เป็นผู้อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาครั้งที่ ๒ ค. เป็นผู้อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาครั้งที่ ๓ ง. เป็นผู้อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาครั้งที่ ๔ ๒. การทำสังคายนาครั้งที่ ๕ ณ อาโลกเลณสถาน มลัยชนบท ประเทศศรีลังกาม วัตถุประสงค์แตกต่างไปจากการทำสังคายนาครั้งที่ ๑ – ๔ ด้วยเหตุผลตามข้อใด ก. มีการบันทึกพระไตรปิฎกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ข. เพราะศรีลังกาไม่มีคัมภีร์ที่สามารถอธิบายอรรคกถาได้ ค. เพราะพระไตรปิฎกยังขาดตกบกพร่องไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ง. มีพระผู้ใหญ่ถูกถอดและถูกจับสึกเพราะศึกษาพระธรรมวินัยไม่ถูกต้อง ๓. ผู้อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระพุทธศาสนาครั้งแรกคือบุคคลใด ก. พระเจ้ากาฬาโศก ข. พระเจ้าอชาตศัตรู ค. พระเจ้าอโศกมหาราช ง. พระเจ้าวัฏฏคามณีอภัย ๔. วชิรญาณภิกขุทรงให้กำเนิดคณะสงฆ์นิกายใหม่มีชื่อเรียกว่าอะไร ก. นิกายมหายาน ข. นิกายหินยาน ค. นิกายธรรมยุต ง. นิกายเถรวาท ๕. ข้อใดเป็นผลงานสำคัญของสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ที่ทำให้ทรงได้รับการยกย่องว่าเป็นดวงประทีปแก้วแห่งคณะสงฆ์ไทย ก. ทรงปรับปรุงทำเนียบสมณศักดิ์ขึ้นใหม่ ข.

" พิธีแสดงตนเป็นพุทธมามกะ " ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๑ โดยมี ผอ. สุรพล ศรีพยัคฆ์ เป็นประธานในพิธี การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ คือ การประกาศตนของผู้แสดงว่าเป็นผู้นับถือพระพุทธศาสนา คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ เป็นสิ่งสูงสุดและเป็นที่พึ่งที่ระลึกของตน จุดประสงค์ในการแสดงตนเป็นพุทธมามกะ คือ ๑) เพื่อให้เด็กและเยาวชนสืบความเป็นชาวพุทธตามวงศ์ ตระกูลต่อไป ๒) เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รำลึกอยู่เสมอว่าตนเป็น พุทธศาสนิกชน ๓) เพื่อปลูกฝังนิสัยเด็กและเยาวชนให้มั่นคงในพระพุทธ ศาสนา

4 เข้าสู่ที่ประชุมสงฆ์ตรงหน้าพระอาจารย์ ถวายพานเครื่องสักการะแด่พระอาจารย์ แล้วกราบพระสงฆ์ตรงหน้าพระอาจารย์นั้นด้วยเบญจางคประดิษฐ์ 3 ครั้ง 3.

Home > ศาสนพิธี > พิธีการแสดงตนเป็นพุทธมามกะ 3 สิงหาคม, 2007 ศาสนพิธี พิธีแสดงตนเป็นพุทธมามกะ การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ คือการประกาศตนของผู้แสดงว่าเป็นผู้รับนับถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นของตน เพื่อเป็นการแสดงให้ปรากฏว่า ยอมรับนับถือพระพุทธศาสนาประจำชีวิตของตน การแสดงตนเป็นพุทธมามกะนี้นิยมทำกันในสมัยเมื่อ ๑. บุตรหลานของตนเจริญวัยอยู่ในระหว่างอายุ ๑๒ – ๑๕ ปี ทำเพื่อให้เด็กสืบความเป็นพุทธศาสนิกตามสกุล ๒. จะส่งบุตรหลานของตนไปเพื่อศึกษาหรือเพื่อประโยชน์ใด ๆ ก็ตาม ซึ่งจะต้องจากไปนานแรมปี เช่น ไปศึกษาในต่างประเทศ ๓. จะปลูกฝังนิสัยของเยาวชนให้มั่นคงในพระพุทธศาสนา เช่น อย่างที่โรงเรียนสอนวิชาสามัญและวิสามัญศึกษา จัดประกอบพิธีแก่นักเรียนที่เข้าศึกษาใหม่ในรอบปี ๔. มีบุคคลต่างศาสนาเกิดความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ต้องการจะประกาศตนเป็นพุทธศาสนิก ประเพณีวิธีการแสดงตนเป็นพุทธมามกะ การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล จนกระทั่งถึงปัจจุบันนี้รวมเป็น ๔ วิธี คือ ๑. มีผู้มาทูลขอบวช พระพุทธเจ้าทรงบวชให้ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา ผู้นั้นถือเพศเป็นเสร็จพิธี ๒. ขอบวชต่อพระสาวก แล้วลั่นวาจาถึงพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่งที่ระลึก ๓ หน เป็นเสร็จพิธี ๓.